‘ความยั่งยืน’ 1 ใน 4 เสาหลัก เครื่องมือประเมินคุณภาพการเติบโต เมื่อ ‘GDP’ กลายเป็นเพียงเครื่องมือชี้วัดเชิงปริมาณ

การประชุมสภาเศรษฐกิจโลก ( WEF : World Economic Forum) ณ เมืองดาวอส เมื่อต้นปี 2024 ที่ผ่านมา ได้สรุปอย่างเห็นพ้องกันว่า การเติบโตของ GDP อย่างเดียวไม่ใช่เป้าหมายที่แท้จริง แต่เป็นเพียงเครื่องมือที่จะนำไปสู่เป้าประสงค์ใหญ่ขึ้น

MBA Chula พร้อมพัฒนาทักษะใหม่แห่งอนาคตสำหรับการเป็นผู้นำองค์กรธุรกิจ

ในโลกยุคใหม่ที่ทักษะจำเป็นแห่งอนาคตการทำงานกำลังจะเปลี่ยนไปอย่างมาก หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (MBA Chula) พร้อมช่วยเสริมสร้างทักษะ และ ความรู้ใหม่ๆ สำหรับการเป็นผู้นำในอนาคต ผ่านหลักปรัชญาการเรียนรู้ (5C)

‘ความยั่งยืน’ จุดอ่อนประเทศไทย รั้งท้ายตาราง อันดับ 88 จาก 107 ประเทศทั่วโลก คะแนนรวม 40 เต็มร้อย

‘ความยั่งยืน’ ประเทศไทย รั้งท้ายโลก ติดอันดับ 88 จาก 107 ประเทศ คะแนนรวม 40 เต็ม 100 ซึ่งยังถือเป็นจุดอ่อนที่เข้ามาถ่วงศักยภาพการพัฒนาในอนาคตโดยรวมของประเทศ

ดีลอยท์ ประเทศไทย ศึกษาผู้นำองค์กร สแกนการเตรียมความพร้อมเพื่อการบริหารความเสี่ยงด้านความยั่งยืนในประเทศไทย  

ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน หรือ ESG  มีการพูดถึงอย่างแพร่หลาย และแต่ละองค์กรหันมาให้ความสำคัญอย่างจริงจังมากขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากแรงผลักดันของเวทีระดับโลกอย่างการประชุมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติ

คาดตำแหน่งงานใน 5 ปีข้างหน้า​ ลด 14 ล้านตำแหน่ง ​สายงานด้าน AI, Data และ Sustain ยังมีโอกาสเติบโตสูง

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CBS) องค์กรหนึ่งเดียวของไทยที่ได้ร่วมกับ World Economic Forum (WEF) ในการจัดทำและเผยแพร่รายงาน อาชีพในอนาคต (Future of Jobs Report) พบว่าภายในปี 2570 อาจมีงานลดลงสุทธิ 14 ล้านตำแหน่ง หรือ 2% ของการจ้างงานในปัจจุบัน

World Economic Forum ชี้ 5 ประเด็นสำคัญที่น่าจับตามองใน COP 27

COP (Conference of the Parties) คือ กลุ่มประเทศที่ได้ลงนามในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ซึ่งจัดทำขึ้นในปี 1992 เพื่อบรรลุการรักษาเสถียรภาพของการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) เพื่อรักษาการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ซึ่งจัดมาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยครั้งล่าสุดที่ผ่านมาคือ COP26 ​ที่เมืองกลาสโกว์ สกอตแลนด์

หากไม่เร่งแก้ไขปัญหา Climate Change จะกระทบเศรษฐกิจโลกกว่า 6,230 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 50 ปี

จากรายงาน Global Turning Point Report ของดีลอยท์ ระบุว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขนั้นอาจทำให้เศรษฐกิจโลกได้รับความเสียหายถึง 178 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ หรือกว่า 6,230 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 50 ปีข้างหน้า เว้นแต่ผู้นำระดับโลกจะร่วมมือสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบเพื่อดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์